วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

วิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพของ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
โปรแกรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ขอบเขตการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ : ฝ่ายพัสดุ
โดย น.ส.พัชราภรณ์ มิ่งทองคำ รหัสนักศึกษา 4934408105
แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญยาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ

หน้าที่ความรับผิดชอบ
1.ระบบเบิก-จ่าย

  • บันทึกโปรแกรมระบบเบิก-จ่าย
  • รับวัสดุเข้าคลัง
  • ตัดสต๊อกวัสดุ
  • จ่ายวัสดุ
  • ตรวจสอบวัสดุ

2. งานด้านเอกสาร

  • พิมพ์เอกสารต่างๆ
  • ทำรายงานคงเหลือค่าK,I
  • ทำรายงานการเบิก-จ่าย
  • เก็บเอกสารต่างๆ

วันจันทร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2551

รายละเอียดของการปฏิบัติงาน

ลำดับที่1 วันที่ 10 มิถุนายน 2551


  • ทำรายงานการเบิกจ่ายวัสดุประจำเดือน
  • รับวัสดุขอซื้อเข้าคลัง

ลำดับที่ 2 วันที่ 11 มิถุนายน 2551

  • ทำรายงานการเบิกจ่ายวัสดุประจำเดือน
  • รับวัสดุขอซื้อเข้าคลัง

ลำดับที่ 3 วันที่ 12 มิถุนายน 2551

  • ทำรายงานวัสดุคงเหลือ
  • เก็บเอกสาร

ลำดับที่ 4 วันที่ 13 มิถุนายน 2551

  • ทำรายงานวัสดุคงเหลือ
  • พิมพ์เอกสาร

ลำกับที่ 5 วันที่ 17 มิถุนายน 2551

  • ทำรายงานขอซื้อวัสดุประจำเดือน
  • จ่ายวัสดุขอซื้อ

ลำดับที่ 6 วันที่ 18 มิถุนายน 2551

  • ทำรายงานขอซื้อวัสดุประจำเดือน
  • จ่ายวัสดุขอซื้อ

ลำดับที่ 7 วันที่ 19 มิถุนายน 2551

  • เก็บเอกสาร
  • พิมพ์เอกสาร
  • จ่ายวัสดุขอซื้อ

ลำดับที่ 8 วันที่ 20 มิถุนายน 2551

  • รับวัสดุเข้าคลัง
  • เก็บเอกสาร
  • พิมพ์เอกสาร

ลำดับที่ 9 วันที่ 23 มิถุนายน 2551

  • รับวัสดุเข้าคลัง
  • เก็บเอกสาร
  • จ่ายวัสดุ

ลำดับที่ 10 วันที่ 24 มิถุนายน 2551

  • รับวัสดุเข้าคลัง
  • ตัด-จ่ายวัสดุ
  • เก็บเอกสาร

ลำดับที่ 11 วันที่ 25 มิถุนายน 2551

  • ตรวจสอบวัสดุขอซื้อ
  • เก็บเอกสาร

ลำดับที่ 12 วันที่ 26 มิถุนายน 2551

  • ตรวจสอบวัสดุขอซื้อ
  • พิมพ์เอกสาร

ลำดับที่ 13 วันที่ 27 มิถุนายน 2551

  • ตรวจสอบวัสดุขอซื้อ
  • พิมพ์เอกสาร

ลำดับที่ 14 วันที่ 30 มิถุนายน 2551

  • รับวัสดุเข้าคลัง
  • จ่ายวัสดุขอซื้อ

ลำดับที่ 15 วันที่ 1 กรกฏาคม 2551

  • ตรวจสอบวัสดุขอซื้อ
  • เก็บเอกสาร
  • พิมพ์เอกสาร

ลำดับที่ 16 วันที่ 2 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแกรมระบบเบิก-จ่าย
  • จ่ายวัสดุ

ลำดับที่ 17 วันที่ 3 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแรกมระบบเบิก-จ่าย
  • จ่ายวัสดุ

ลำดับที่ 18วันที่ 4 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแกรมเบิก-จ่าย
  • จ่ายวัสดุ

ลำดับที่ 19 วันที่ 7 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแกรมเบิก-จ่าย
  • ทำรายงานคงเหลือค่าK,I

ลำดับที่ 20 วันที่ 8 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแกรมระบบเบิก-จ่าย
  • ทำรายงานคงเลือค่าK,I

ลำดับที่ 21 วันที่ 9 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแกรมระบบเบิก-จ่าย
  • ทำรายงานคงเหลือค่าK,I

ลำดับที่ 22 วันที่ 10 กรกฏาคม 2551

  • บันทุกโปรแกรมระบบเบิก-จ่าย
  • จ่ายวัสดุ

ลำดับที่ 23 วันที่ 11 กรกฏาคม 2551

  • บันทึกโปรแกรมระบบเบิก-จ่าย
  • จ่ายวัสดุ

วันอังคารที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551


บล็อก คืออะไร
บล็อกเป็นไดอารีส่วนบุคคล ห้องฟังเทศน์ พื้นที่สำหรับความร่วมมือ เวทีแสดงออกทางการเมือง ห้องกระจายข่าว การเก็บรวบรวมลิงก์ ความคิดส่วนตัวของคุณ บันทึกสำหรับคนทั่วโลก
บล็อกของคุณจะเป็นอะไรก็ได้ตามที่ใจต้องการ เรามีบล็อกนับล้าน ทุกรูปแบบและทุกขนาด และไม่มีกฎตายตัว
กล่าวง่ายๆ บล็อกก็คือเว็บไซต์ ซึ่งคุณสามารถเขียนเรื่องต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง เรื่องใหม่จะปรากฏด้านบนสุด เพื่อให้ผู้เยี่ยมชมสามารถอ่านสิ่งที่มาใหม่ จากนั้นจะสามารถแสดงความคิดเห็นหรือสร้างลิงก์ หรือส่งอีเมลถึงคุณ หรือไม่ทำอะไรเลย
นับตั้งแต่ Blogger เปิดตัวในปี ค.ศ. 1999 บล็อกก็ได้เปลี่ยนโฉมหน้าของเว็บ สร้างผลกระทบต่อการเมือง เขย่าวงการสื่อสารมวลชน และทำให้คนนับล้านได้แสดงออกและติดต่อกับบุคคลอื่น
และเรามั่นใจว่าทั้งหมดนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น


เผยแพร่ ความคิดของคุณ
บล็อกเป็นกระบอกเสียงของคุณเองในเว็บ และเป็นพื้นที่สำหรับเก็บและแลกเปลี่ยนสิ่งที่คุณสนใจ — ไม่ว่าจะเป็นความเห็นเกี่ยวกับการเมือง ไดอารีส่วนบุคคล หรือลิงก์ไปยังเว็บไซต์ที่คุณต้องการจดจำ
ผู้คนจำนวนมากใช้บล็อกเพื่อจัดระเบียบความคิดของตัวเอง ในขณะที่บางคนมีผู้ฟังนับพันที่มีอิทธิพลจากทั่วโลก นักสื่อสารมวลชนมืออาชีพและสมัครเล่นใช้บล็อกเพื่อเผยแพร่ข่าว ส่วนนักเขียนบันทึกส่วนบุคคลใช้บล็อกเพื่อแสดงความคิดของตน
ไม่ว่าคุณอยากจะบอกอะไร Blogger ช่วยคุณพูดสิ่งนั้นได้

วันพุธที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551

"ปาหวัดผู้ทำจ้า"

ชื่อ นางสาวพัชราภรณ์ มิ่งทองคำ <เย>
วันเกิด 21 เม.ย.25XX
ที่อยู่ แถวจรัญสนิทวงศ์ 3
นิสัย ก็ขี้น้อยใจ ขี้คิดมาก โกรธง่าย หายเร็ว
เวลาว่าง ชอบขายของ ดูหนัง ร้องคาราโอเกะ
ที่ทำมาหากิน สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ (ฝ่ายพัสดุ)
สัตว์ที่เลี่ยง "ไอ้เป๊บซี่"

วันอังคารที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2551

วิธีการทำจดหมายเวียน


วิธีการสร้างจดหมายเวียน
1.เริ่มต้นโปรแกรม Word ระบบจะเปิดเอกสารที่ว่างเปล่า ให้เปิดเอกสารไว้เช่นนั้น ถ้าคุณปิดเอกสารนี้ จะไม่สามารถดำเนินการในขั้นตอนถัดไป
2.บนเมนู เครื่องมือ ให้ชี้เมาส์ไปที่คำว่าจดหมายและการส่งจดหมาย และคลิก จดหมายเวียน
3.เลือกประเภทของเอกสารที่คุณต้องการผสานข้อมูลลงไป บานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน จะเปิดออกพร้อมกับคำถามเกี่ยวกับประเภทของเอกสารแบบผสานที่คุณต้องการสร้าง หลังจากที่เลือกเอกสารแล้ว ให้คลิก ถัดไป ที่ด้านล่างของบานหน้าต่าง
4.เลือกเอกสารหลักที่ต้องใช้หากเอกสารหลักของคุณ (หรือที่เรียกว่า เอกสารเริ่มต้น ในบานหน้าต่างงาน) เปิดอยู่แล้ว หรือคุณกำลังเริ่มต้นทำงานกับเอกสารเปล่า คุณสามารถคลิกที่คำว่า Use the current document
5.หากต้องการผสานข้อมูลเฉพาะลงในเอกสารหลัก คุณต้อง
เชื่อมต่อกับ (หรือสร้างและเชื่อมต่อกับ) แฟ้มข้อมูลที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเฉพาะนั้น หากคุณไม่ต้องการใช้ข้อมูลทั้งหมดในแฟ้มเพื่อทำการผสาน คุณสามารถ เลือก ระเบียนที่คุณต้องการใช้
6.เลือกระเบียนในแฟ้มข้อมูลที่ต้องการใช้พร้อมทั้งเพิ่มเขตข้อมูลลงไปในเอกสารหลัก
7.หลังจากเพิ่มเขตข้อมูลลงในเอกสารหลักแล้ว คุณก็พร้อมที่จะ
แสดงตัวอย่าง เอกสารที่เกิดจากการผสาน เมื่อคุณพอใจกับภาพแสดงตัวอย่างที่เห็น คุณสามารถดำเนินการ ผสาน ให้เสร็จสมบูรณ์

ข่าวสารไอที

ปรามภิกษุอย่าเล่นเวบ Social Networking

รัฐบาลไทยได้มีการขอความร่วมมือจากผู้ให้บริการเวบประเภท Social Networking ถ้าพบว่ามีพระภิกษุเข้าไปใช้เวบในทางที่เหมาะสมก็ให้ถอนออกจากระบบทันที
ปัจจุบันนี้ ภัยอันตรายมีเข้ามาหลากหลายรูปแบบ ไม่เว้นแต่บนโลกไซเบอร์ โดยเฉพาะการเล่นแชทกับบุคคลแปลกหน้า ซึ่งเป็นที่นิยมกันมากในหมู่วัยรุ่นหญิง โดยเมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา ตำรวจได้มีการสืบสวนสอบสวน กรณีที่พระภิกษุรูปหนึ่งได้ใช้อินเตอร์เน็ตในการล่อลวงหญิงสาววัยรุ่นให้เข้ามาหาที่วัด โดยหนังสือพิมพ์ Bangkok Post ได้รายงานข่าวว่า ทางกรมศาสนาได้มีการเร่งสืบสวนข้อเท็จจริงอย่างเร่งด่วน ถึงขนาดมีการเสนอให้พิจารณาทำการปิดเวบไซต์ Hi5 ซึ่งเป็นเวบไซต์ที่ใช้ติดต่อกันบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตชื่อดัง เพื่อแก้ปัญหา แต่ในทางกฎหมายที่ได้บัญญัติไว้เมื่อปีที่ผ่านมา กำหนดให้จะต้องได้รับคำพิพากษาจากผู้พิพากษาหรือตุลาการสูงสุดก่อน จึงจะดำเนินการปิดเวบไซต์ดังกล่าวได้ ซึ่งทางกรมศาสนาได้ออกมากล่าวขอความร่วมมือผู้ที่ดูแลเวบไซต์ว่า ไม่ควรอนุญาตให้พระภิกษุสงฆ์ทำการใช้บริการเวบไซต์ นอกจากนี้ ยังได้ขอความร่วมมือจากผู้ใช้เวบไซต์ต่างๆว่า ไม่ควรให้สนใจกับพระภิกษุสงฆ์ที่ประพฤติตัวไม่เหมาะสม โดยเวบไซต์ที่ใช้ติดต่อกันบนอินเตอร์เน็ตที่กำลังเป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน ได้แก่ เวบไซต์ Hi5 ซึ่งมีผู้ใช้บริการกว่า 70 ล้านคน จาก 250 ประเทศ โดยมีผู้ใช้บริการในไทยกว่า 800,000 คน ซึ่งถือเป็นเวบไซต์ประเภทที่ใช้ติดต่อกันบนอินเตอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่สามของโลก โดยมีคำแนะนำสำหรับผู้ที่ชื่นชอบการเล่นแชทออนไลน์ว่า อย่าพบกับบุคคลแปลกหน้าที่เพิ่งรู้จักกันทางอินเตอร์เน็ต หากต้องการพบจริงๆ ควรหาสถานที่ที่เป็นที่สาธารณะ มีผู้คนพลุกพล่าน และควรนำผู้ปกครองหรือผู้ใหญ่ไปด้วย และก่อนที่จะทำการโพสข้อความหรือรูปใดๆลงไปบนอินเตอร์เน็ต ให้คิดทบทวนเสียก่อน เพราะอาจจะส่งผลร้ายมาสู่ตัวได้

วันพฤหัสบดีที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2551

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

โปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Bachelor of Business Administration Program in Business Computer
ชื่อ ปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
Bachelor of Business Administration (Business Computer)
ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ
4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรม
โครงสร้างหลักสูตร
มีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2)และ/หรือ
4000108 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต
1.1 บังคับเรียน 24 หน่วยกิต
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2 4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)
4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไปนี้
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1
3521101 การบัญชี 1 3521102 การบัญชี 2
4112105 สถิติธุรกิจ 3531101 การเงินธุรกิจ
3541101 หลักการตลาด
ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน

(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ
บังคับเรียน 9 หน่วยกิต
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์กาสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน

(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต
3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(90)
3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(210)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้